ช่างภาพคนนี้ ทำให้เห็นโลกคู่ขนานระหว่างอดีตและปัจจุบันของกรุงเทพฯ

เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนสิ่งต่าง ๆ ก็ต้องเปลี่ยนแปลงได้นั้นคือสัจธรรม จนบางครั้งเราก็อาจจำไม่ได้ด้วยซ้ำไปว่า ก่อนที่จะมาถึงปัจจุบันนี้ในอดีตมันเคยเป็นอย่างไร เราต้องขอบคุณนักประดิษฐ์ที่ได้ทำการคิดค้นกล้องถ่ายภาพขึ้นมา เพราะมันสามารถช่วยให้เราได้บันทึกภาพความทรงจำเอาไว้ โดยที่กาลเวลาก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้

ช่างภาพท่านหนึ่งเจ้าของบัญชีเฟซบุ๊ก Siriphong Pakaratsakun ได้เกิดไอเดียที่สร้างสรรค์ในการนำภาพถ่ายเก่ากลับไปยังสถานที่เดิมอีกครั้งและเปรียบเทียบให้เราได้เห็นว่าครั้งหนึ่งในอดีตสถานที่แห่งนั้นเคยเป็นอย่างไร มันเหมือนกับเป็นอีกโลกคู่ขนานที่หลายคนไม่เคยเห็นมาก่อน

นี่คือเจ้าของผลงานภาพถ่ายที่สุดสร้างสรรค์ เจ้าของบัญชีเฟซบุ๊ก Siriphong Pakaratsakun

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ภาพเก่าหล่านี้กำลังจะถูกนำกลับไปมุมเดิมที่เคยถ่ายไว้ในอดีต

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

โดยเขาได้สร้างคอลเลคชั่นภาพชุดนี้ที่ชื่อว่า Time Travel : Looking Into The Past (Thailand) ลงในอัลบั้มของเขา ภาพโดยส่วนมากจะเป็นการเปรียบเทียบสถานที่ต่าง ๆ ของกรุงเทพที่ดูแล้วมีเสน่ห์ชวนน่าหลงไหล

” ในบทความนี้เราขออนุญาติเจ้าของผลงานเพื่อใช้ภาพอย่างเป็นทางการแล้วและเพื่อไม่ให้สิ่งที่เจ้าของผลงานพยายามจะสื่อสารเราขออนุญาติใช้คำบรรยายภาพจากต้นฉบับจะดีที่สุด(แต่จะมีการตัดบางส่วนของข้อความบ้างต้องขอภัยด้วย) “

ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) เริ่มตั้งแต่ถนนสนามไชยถึงแม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก กรุงเทพมหานคร เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ปัจจุบันผ่านพื้นที่เขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์ เขตบางรัก เขตสาทร และเขตบางคอแหลม

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

แยกเอส. เอ. บี. (S. A. B. Intersection) เป็นทางแยกที่เกิดจากถนนเจริญกรุงตัดกับถนนวรจักรและถนนจักรวรรดิ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยได้ชื่อทางแยกมาจากชื่อบริษัทเอส. เอ. บี. ของฝรั่งชาติเบลเยียมซึ่งมีสำนักงานอยู่บริเวณนั้น [S. A. B. ย่อมาจาก Société Anonyme Belge pour le Commerce et l’Industrie au Siam แปลว่า “บริษัทเบลเยียมเพื่อการพาณิชย์และการอุตสาหกรรมในสยาม จำกัด (มหาชน)

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

แยกเอส. เอ. บี.

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ห้องสมุดเนียลสัน เฮย์ส ห้องสมุดเล็กๆ แต่ร่มรื่นริมถนนสุรวงศ์ ห้องสมุดแห่งนี้ ตั้งชื่อตาม นางเจนนี่ เนียลสัน เฮย์ส (Mrs.Jennie Neilson Hays) ในขณะที่เธอมีชีวิตอยู่

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

วัดอรุณราชวราราม (Wat Arun Ratchawararam ) หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

วัดอรุณราชวราราม

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

วัดอรุณราชวราราม

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

วัดอรุณราชวราราม

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

วัดอรุณราชวราราม

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

วัดอรุณราชวราราม

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

แม่น้ำเจ้าพระยา (The Chao Phraya River) เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

สะพานพระพุทธยอดฟ้า เป็นสะพานที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) เมื่อปี พ.ศ. 2472

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

สะพานพระพุทธยอดฟ้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

สะพานพระพุทธยอดฟ้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

สะพานพระพุทธยอดฟ้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ศาลาเฉลิมกรุง (Sala Chalermkrung Royal Theatre) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ศาลาเฉลิมกรุง

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

เฉลิมกรุงสโตร์ (Chalermkrung Store) อดีตและปัจจุบัน

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

สะพานหัน ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีร้านค้าแบ่งเป็นห้องเล็ก อยู่บนสะพานมีหลังคาสองชั้น ตัวสะพานสร้างโค้งเล็กน้อย สูงพอให้เรือลอดไปได้

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

สะพานหัน

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ถนนบำรุงเมือง (Bamrung Mueang Rd.) เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างตามแบบตะวันตก

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

เสาชิงช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

เสาชิงช้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

เสาชิงช้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

เสาชิงช้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

เสาชิงช้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

เสาชิงช้า

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

คลองโอ่งอ่าง คือส่วนหนึ่งของคลองรอบกรุงที่ต่อจากคลองบางลำพู ตรงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ห้าง รัตนมาลา จำกัด แยกพาหุรัด พ.ศ.2463 (ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ดิโอล์ดสยามพลาซ่า)

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ห้าง รัตนมาลา จำกัด

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ถนนจักรเพชร [จัก-เพ็ด] (Thanon Chak Phet) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

สะพานพิทยเสถียร สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร (Wat Saket)

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ภูเขาทอง (The temple of the Golden Mount)

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ภาพในอดีตรถลาก หรือ รถเจ๊กในสมัยรัชกาลที่ 5

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ตุ๊กตาหินจีน วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์)

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

รถรางกำลังวิ่งผ่านบริเวณหน้าวัดโพธิ์

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ตลาดท่าเตียน (Tha Tien Market)

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ซอยท่าเตียนในอดีต (ตลาดท่าเตียน) Tha Tien Market

Credit Picture FB : Siriphong Pakaratsakun

ต้องขอขอบคุณเจ้าของภาพอีกครั้งสำหรับภาพถ่ายที่มากด้วยไอเดียแบบนี้ มันทำให้เราย้อนกลับไปคิดถึงวันวานที่น่าจดจำ หากท่านใดที่ชื่นชอบผลงานแนวนี้ก็สามารถกดติดตามเฟซบุ๊ก Siriphong Pakaratsakun รับรองไม่ผิดหวัง

ขอบคุณที่มา Facebook | เรียบเรียงโดย เบาสมอง